พระอยู่ในสภาพเดิมตลอดมา ไม่ได้ถูกล้างลอกรัก เป็นอีกองค์ที่เห็นว่าน่าจะนำมาให้ศึกษาธรรมชาติของรักที่แห้งสนิท จะเห็นรักบางส่วนที่แห้งจนหมดยางแล้วหลุดล่อนออกเอง เปิดให้เห็นผิวพระที่ปกคลุมด้วยน้ำปูนที่ซึมขึ้นมา หรือแคลไซค์ เป็นสีขาวแห้งเหมือนปูนตายซาก รอยแตกรอยแยกหรือที่เรียกว่ารอยหนอนด้นนั้น มีการหดตัวตามขอบรอยแยก หรือขอบหลุมบ่อรอบๆ ก้อนมวลสารพระธาตุ พระเนื้อผงที่มีมวลสารหลักเป็นปูน เมื่อคายความชื้นจะมีการหดตัวซึ่งทำให้ร่องรอยเหล่านี้ต้องไม่มีความคม ไม่ดูระคายสายตา
วันจันทร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561
พระสมเด็จวัดระฆังฯ กรุวัดสะตือพระพุทธไสยาสน์องค์นี้ เป็นพระที่ขึ้นกรุตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๔๙๙ เมื่อครั้งเปิดกรุครั้งแรก โดยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อคราวเข้าไปบูรณะองค์พระนอน พระองค์นี้อยู่ในการครอบครองของนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่ โดยที่ใส่กรอบเลี่ยมทองเก็บอยู่ในเซฟมา 60 ปี
พระอยู่ในสภาพเดิมตลอดมา ไม่ได้ถูกล้างลอกรัก เป็นอีกองค์ที่เห็นว่าน่าจะนำมาให้ศึกษาธรรมชาติของรักที่แห้งสนิท จะเห็นรักบางส่วนที่แห้งจนหมดยางแล้วหลุดล่อนออกเอง เปิดให้เห็นผิวพระที่ปกคลุมด้วยน้ำปูนที่ซึมขึ้นมา หรือแคลไซค์ เป็นสีขาวแห้งเหมือนปูนตายซาก รอยแตกรอยแยกหรือที่เรียกว่ารอยหนอนด้นนั้น มีการหดตัวตามขอบรอยแยก หรือขอบหลุมบ่อรอบๆ ก้อนมวลสารพระธาตุ พระเนื้อผงที่มีมวลสารหลักเป็นปูน เมื่อคายความชื้นจะมีการหดตัวซึ่งทำให้ร่องรอยเหล่านี้ต้องไม่มีความคม ไม่ดูระคายสายตา
พระอยู่ในสภาพเดิมตลอดมา ไม่ได้ถูกล้างลอกรัก เป็นอีกองค์ที่เห็นว่าน่าจะนำมาให้ศึกษาธรรมชาติของรักที่แห้งสนิท จะเห็นรักบางส่วนที่แห้งจนหมดยางแล้วหลุดล่อนออกเอง เปิดให้เห็นผิวพระที่ปกคลุมด้วยน้ำปูนที่ซึมขึ้นมา หรือแคลไซค์ เป็นสีขาวแห้งเหมือนปูนตายซาก รอยแตกรอยแยกหรือที่เรียกว่ารอยหนอนด้นนั้น มีการหดตัวตามขอบรอยแยก หรือขอบหลุมบ่อรอบๆ ก้อนมวลสารพระธาตุ พระเนื้อผงที่มีมวลสารหลักเป็นปูน เมื่อคายความชื้นจะมีการหดตัวซึ่งทำให้ร่องรอยเหล่านี้ต้องไม่มีความคม ไม่ดูระคายสายตา
วันอาทิตย์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2561
พระสมเด็จวัดระฆังฯ บรรจุกรุวัดสะตือพระพุทธไสยาสน์ น่าจะเป็น พระกรุสุดท้ายของการสร้างพระสมเด็จวัดระฆังฯ มีบันทึกว่าบรรจุกรุเมื่อปีพ.ศ.๒๔๑๔ ก่อนที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ จะสิ้นเพียง ๑ ปี พระกรุนี้แยกแยะได้ด้วยพุทธศิลป์ และธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
แต่พระที่พบก็มีหลายลักษณะ ตามเหตุปัจจัยเช่น ตำแหน่งที่อยู่ในกรุ การชุบรัก การปิดทอง ฯลฯ อย่างเช่นองค์นี้ก็เป็นตัวอย่างที่ดีในการศึกษา เพราะมีลักษณะแปลกเฉพาะองค์หลายประการ
ประการแรก เป็นพระที่ชุบรักน้ำเกลี้ยงเพียงรอบเดียว และผู้ชุบก็ไม่พิถีพิถัน คราบรักไม่เสมอกันทั้งองค์แสดงชัดเจนว่าเป็นการทำด้วยมือคนที่มีทั้งประณีตและทำแบบลวกๆ รักที่แห้งสนิทจนกลายเป็นเนื้อเดียวกับผิวพระ เห็นความแกร่ง ร่องรอยการหดตัวเป็นธรรมชาติของพระที่เก็บในกรุนับร้อยปี โดยเฉพาะบริเวณเส้นซุ้มเรือนแก้วจะเห็นการหดตัวได้ชัดเจน
อีกประการที่น่าสนใจ คือคราบแคลไซค์ หรือน้ำปูนที่ซึมออกมาติดแน่นอยู่เหนือคราบรักแสดงความเก่าได้อายุ คราบแบบนี้ถ้านำพระไปแช่น้ำจะเลือนหายไป แต่เมื่อแห้งคราบจะกลับมาเหมือนเดิม คราบติดแน่นไม่สามารถปัดออกได้ เว้นแต่จะขูดทิ้งซึ่งน่าจะเปิดผิวพระออกไปด้วย เห็นว่าประเด็นนี้น่าสนใน ผู้เขียนจึงนำภาพที่ขยายด้วยกล้องจุลทรรศน์ ขยายขนาด 40 และ 100 เท่ามาให้ชมประกอบการศึกษา
บริเวณวงกลมแดง คือจุดที่ขยายภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์
แต่พระที่พบก็มีหลายลักษณะ ตามเหตุปัจจัยเช่น ตำแหน่งที่อยู่ในกรุ การชุบรัก การปิดทอง ฯลฯ อย่างเช่นองค์นี้ก็เป็นตัวอย่างที่ดีในการศึกษา เพราะมีลักษณะแปลกเฉพาะองค์หลายประการ
ประการแรก เป็นพระที่ชุบรักน้ำเกลี้ยงเพียงรอบเดียว และผู้ชุบก็ไม่พิถีพิถัน คราบรักไม่เสมอกันทั้งองค์แสดงชัดเจนว่าเป็นการทำด้วยมือคนที่มีทั้งประณีตและทำแบบลวกๆ รักที่แห้งสนิทจนกลายเป็นเนื้อเดียวกับผิวพระ เห็นความแกร่ง ร่องรอยการหดตัวเป็นธรรมชาติของพระที่เก็บในกรุนับร้อยปี โดยเฉพาะบริเวณเส้นซุ้มเรือนแก้วจะเห็นการหดตัวได้ชัดเจน
อีกประการที่น่าสนใจ คือคราบแคลไซค์ หรือน้ำปูนที่ซึมออกมาติดแน่นอยู่เหนือคราบรักแสดงความเก่าได้อายุ คราบแบบนี้ถ้านำพระไปแช่น้ำจะเลือนหายไป แต่เมื่อแห้งคราบจะกลับมาเหมือนเดิม คราบติดแน่นไม่สามารถปัดออกได้ เว้นแต่จะขูดทิ้งซึ่งน่าจะเปิดผิวพระออกไปด้วย เห็นว่าประเด็นนี้น่าสนใน ผู้เขียนจึงนำภาพที่ขยายด้วยกล้องจุลทรรศน์ ขยายขนาด 40 และ 100 เท่ามาให้ชมประกอบการศึกษา
บริเวณวงกลมแดง คือจุดที่ขยายภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์
วันเสาร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2561
จากความตอนหนึ่งในตำราพิจาร ณาพระสมเด็จของ อ.ตรียัมปวาย ได้กล่าวไว้ว่า
นายกนก สัชชุกร ผู้บันทึกประวัติของเจ้าพระ คุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ก็ได้เคยเรียนถามท่านเจ้าคุ ณธรรมถาวร ซึ่งเป็นศิษย์ของเจ้าพระคุณ สมเด็จฯ มีอายุขณะนั้นได้ 88 ปี ความว่า
"ท่านทราบบ้างไหมว่า เจ้าพระคุณสมเด็จพระพุฒาจาร ย์โต พรหมรังสี ได้บรรจุพระของท่านไว้ที่ใด บ้าง"
ท่านก็นิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้ วจึงปฏิเสธว่าไม่ทราบ แต่ท่านได้กล่าวเปรยๆ ว่า
"เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ท่านชื่อโต ท่านชอบสร้างพระองค์โตๆ"
หนึ่งในพระพุทธรูปองค์ใหญ่ท ี่เจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้สร้างไว้คือ พระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนปางพ ุทธไสยาสน์ ที่วัดสะตือ ต.ท่าหลวง อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา เป็นพระนอนใหญ่มีขนาดยาว 52 เมตร กว้าง 9 เมตร สูง 16 เมตร องค์พระโปร่ง ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2414 ก่อนที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ จะมรณภาพ 1 ปี และยังได้สร้างพระเจดีย์อีก 1 องค์ไว้ริมแม่น้ำป่าสัก สร้างเพื่อระลึกถึงโยมมารดา ของท่าน
พระสมเด็จวัดระฆังฯ กรุวัดสะตือพระพุทธไสยาสน์ ถูกพบค รั้งแรกเมื่อ จอมพล ป.พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรีได้เดินทาง มาปิดทองพระนอนวัดสะตือซึ่ง เวลานั้นพระนอนอยู่ในสภาพทร ุดโทรมมากจึงบัญชาการให้กรม โยธาเทศบาลได้จัดการปฏิสังข รณ์พระนอนใหม่เมื่อ พ.ศ. 2499 และมีการย้ายเจดีย์ที่เดิมอ ยู่ริมแม่น้ำ นำมาสร้างใหม่ ตรงเศียรของพระนอน จึงได้พบพระสมเด็จพิมพ์ต่าง ๆ บรรจุอยู่
แต่ด้วยในสมัยนั้นพระสมเด็จ วัดระฆังยังไม่ได้เป็นที่นิ ยมจึงไม่ได้เป็นข่าว พระสมเด็จที่ถูกพบจึงได้มีก ารแจกจ่ายเฉพาะในกลุ่มผู้ที ่เกี่ยวข้องกับการบูรณะในขณ ะนั้นเท่านั้น และหนึ่งในผู้ที่ได้รับพระก รุนี้ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีชื่อเสีย งในสมัยนั้นคือ พ.ต.อ. พันศักดิ์ วิเศษภักดี อดีตผู้บังคับการกองปราบ และหนึ่งในอัศวินแหวนเพชรขอ ง พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ
พระชุดนี้จึงได้ถูกเก็บรวบร วมไว้จำนวนหนึ่งจากทายาทของ พ.ต.อ. พันศักดิ์ เพื่อใช้เป็นหลักฐานเชิงประ จักษ์ที่สำคัญในการศึกษาประ วัติที่มาของพระสมเด็จวัดระ ฆังฯ บรรจุกรุวัดสะตือ หากปล่อยให้เปลี่ยนมือไปไม่ รวบรวมบันทึกเอาไว้ เรื่องราวการศึกษาประวัติที ่มาของกรุวัดสะตือในส่วนนี้ ก็จะเลือนหายไปอย่างน่าเสีย ดาย
นายกนก สัชชุกร ผู้บันทึกประวัติของเจ้าพระ
"ท่านทราบบ้างไหมว่า เจ้าพระคุณสมเด็จพระพุฒาจาร
ท่านก็นิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้
"เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ท่านชื่อโต ท่านชอบสร้างพระองค์โตๆ"
หนึ่งในพระพุทธรูปองค์ใหญ่ท
พระสมเด็จวัดระฆังฯ กรุวัดสะตือพระพุทธไสยาสน์ ถูกพบค
แต่ด้วยในสมัยนั้นพระสมเด็จ
พระชุดนี้จึงได้ถูกเก็บรวบร
พระสมเด็จวัดระฆังฯ ที่เจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ได้สร้างและบรรจุกรุไว้นั้น นับเวลาถึงปัจจุบันก็ไม่ต่ำ กว่า 140 ปี หากไม่ได้นำมาล้างลอกรักออก พระที่พบจะเป็นพระที่ลงรัก และอาจจะมีปิดทองด้วย ด้วยช่วงของเวลาที่พระอยู่ใ นกรุ จะเห็นคราบกรุอยู่เหนือเนื้ อรักเนื้อทอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระสมเด็จ วัดระฆังฯ ที่บรรจุกรุวัดสะตือพระพุทธ ไสยาสน์ อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยานั้น จะมีคราบกรุชัดเจน เพราะวัดอยู่ริมแม่น้ำป่าสั ก น้ำจะท่วมเกือบทุกปี คราบกรุที่พบจะมีเม็ดกรวดเม ็ดทราย แม้แต่เศษกิ่งไม้ติดแน่นอยู ่บนองค์พระ ลักษณะคราบกรุมีมากน้อยขึ้น อยู่กับจุดที่พระอยู่ในกรุ ว่าอยู่ในจุดที่น้ำท่วมถึงห รือพ้นน้ำ ซึ่งลักษณะคราบจะเป็นไปโดยธ รรมชาติ
พระถูกพบครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ . ๒๔๙๙ เมื่อครั้งจอมพลป. พิบูลสงครามนายกรัฐมนตรีในย ุคนั้นได้เข้าไปบูรณะองค์พร ะพุทธไสยาสน์ และได้สร้างพระเจดีย์องค์ให ม่ขึ้นแทนองค์เดิมที่ตั้งอย ู่ริมตลิ่ง ถูกทิ้งให้ทรุดโทรมเสียหายจ ากน้ำท่วม และได้นำพระที่พบในคราวนั้น บรรจุไว้ในเจดีย์องค์ใหม่ด้ วย
คราบกรุที่ทับถมเป็นเวลานาน จะติดแน่นอยู่กับเนื้อรักเน ื้อทองขององค์พระเป็นลักษณะ "กรุทับทอง" แต่ก็พบว่าพระบางองค์มีทองป ิดอยู่เหนือคราบกรุเป็นลักษ ณะ "ทองทับกรุ" จึงนับเป็นหลักฐานเชิงประจั กษ์ได้ว่าเมื่อคราวเปิดกรุใ นครั้งแรกนั้น ได้มีการนำพระที่มีคราบกรุอ ยู่ มาปิดทองก่อนที่จะบรรจุกลับ เข้าไว้ในเจดีย์องค์ที่สร้า งขึ้นใหม่จริง และพระก็อยู่ในกรุมาจนกระทั ่งมีการเปิดกรุในอีก 50 ปีให้หลัง จึงได้เห็นพระบางองค์มีทั้ง "กรุทับทอง ทองทับกรุ" ทับกันเป็นชั้นๆ ในองค์เดียว
พระถูกพบครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ
คราบกรุที่ทับถมเป็นเวลานาน
พระสมเด็จวัดระฆังฯ กรุวัดสะตือพระพุทธไสยาสน์ เป็นพระที่บรรจุ ในองค์พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) และพระเจดีย์ ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2414 ก่อนที่เจ้าประคุณสมเด็จพุฒ าจารย์โต จะมรณภาพ 1 ปี สร้างเพื่อระลึกถึงโยมมารดา ของท่านเอง
โดยเจ้าประคุณท่านได้มาทำกา รก่อสร้างพระพุทธรูปก่ออิฐถ ือปูนปางพุทธไสยาสน์ ณ หมู่บ้านที่ถือกำเนิดที่วัด ท่างาม ปัจจุบันคือ วัดสะตือ ตำบลท่าหลวง อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่ง พระนอนใหญ่มีขนาด ยาว 52 เมตร กว้าง 9 เมตร สูง 16 เมตร องค์พระโปร่ง(ซึ่งใช้เป็นที ่บรรจุพระไว้ภายใน)
พระสมเด็จวัดระฆังฯ กรุวัดสะตือพระพุทธไสยาสน์ ถูกค้น พบเมื่อ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีได้เดินทางมาปิ ดทองพระนอนวัดสะตือซึ่งเวลา นั้นพระนอนอยู่ในสภาพทรุดโท รมมากจึงบัญชาการให้กรมโยธา เทศบาลได้จัดการปฏิสังขรณ์พ ระนอนใหม่เมื่อ พ.ศ. 2499 จึงได้พบพระสมเด็จพิมพ์ต่าง ๆ บรรจุอยู่
โดยเจ้าประคุณท่านได้มาทำกา
พระสมเด็จวัดระฆังฯ กรุวัดสะตือพระพุทธไสยาสน์ ถูกค้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)